เรื่องจริงของ AI กับงานด้านการจัดซื้อ

เรื่องจริงของ AI กับงานด้านการจัดซื้อ

ปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial intelligence (AI) กลายเป็นเทคโนโลยีที่มาแรงในปัจจุบันจนดูเหมือนว่านี่คือแนวโน้มทางธุรกิจใหม่ที่เดินหน้าทลายกำแพงเดิมๆ อย่างต่อเนื่อง แต่อย่าเพิ่งมั่นใจไปว่าจะมีเพียง AI อย่างเดียวที่กำลังไปได้สวยเพราะยังมีเทคโนโลยีอื่นอีกที่มาแรงเหมือนกัน เช่น บล็อกเชน (Blockchain) ที่กำลังเดินหน้าเปลี่ยนโลกธุรกิจอยู่ในปัจจุบัน แต่ถึงวันนี้ยังไม่มีหัวหน้าฝ่ายจัดซื้อคนไหนที่เข้าใจอย่างถ่องแท้ในเทคโนโลยีที่กำลังเปลี่ยนโลกเหล่านี้ในการตอบโจทย์เพื่อเป้าหมายขององค์กรในอนาคตได้บ้าง

แม้ว่าจะมีการพูดถึงความยิ่งใหญ่ของ AI ไว้แค่ไหนก็ตาม ก็ยังเกินไปกว่าที่วันนี้จะเป็นในสิ่งที่อยากให้เป็นได้ อย่างมากก็อาจจะได้ในสิ่งที่เรียกว่า “ระบบจัดการองค์ความรู้สำหรับงานจัดซื้อ” เหมือนอย่างทุกครั้งที่ต้องอ้าปากค้างเวลาที่เห็นภาพกราฟฟิคที่มีหุ่นยนต์ใช้นิ้วสั่งการสมาร์ทโฟน ซึ่งก็ใกล้เคียงกับเรื่องของการนำเอากระบวนการระบบสั่งการทำงานอัตโนมัติของหุ่นยนต์มาใช้ โดยการมาเปลี่ยนกระบวนการทำงานอัตโนมัติด้วยมือแบบเก่าให้ดีขึ้นด้วยการเขียนชุดคำสั่งและการกดคำสั่งต่างๆ บนหน้าจอ ซึ่งทั้งหมดยังไม่ใช่เรื่องของการนำเอา AI ของจริงมาใช้

ถึงตรงนี้อาจจะมองได้ว่าดูเหมือนเป็นเรื่องน่าเบื่อและไม่ควรจะเดินหน้าไปกับ AI เพราะอะไรหลายๆ อย่างก็ยังดูเหมือนไม่ดีหรือไม่พร้อมจะเดินหน้าไปก็เหมือนเสียเปล่า ณ เวลานี้ นั่นอาจจะเป็นความคิดที่พลาดไปก็ได้

หลายปัญหาที่เกิดขึ้นจากการนำเอา AI มาใช้นั้นส่วนใหญ่เป็นเรื่องของความเข้าใจผิดในเรื่องของเทคโนโลยีที่แตกต่างแปลกแยกจากกระบวนและเทคโนโลยีที่ใช้การทำงานแบบวันต่อวัน แน่นอนว่าระบบการเรียนรู้แบบเชิงลึกสามารถเข้าถึงเครือข่ายขององค์กรในหลายระดับชั้น ไม่สามารถเกิดได้กับรูปแบบการทำงานที่จะทำให้เกิดขึ้นได้ ซึ่งนั่นสามารถพูดได้ว่าเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องเข้าใจให้ได้ก่อน ว่าเทคโนโลยีเหล่านี้ทำงานอย่างไร อะไรคือปัญหาเชิงลึกที่จะต้องแก้และจะต้องสนับสนุนอย่างไรเพื่อที่จะสามารถนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์

ในมุมมองของผู้ให้บริการ ส่วนใหญ่กำลังประเมินในตัว AI อย่างน้อยก็ในแง่ความพร้อมด้านเทคโนโลยี และมีอีกสองสามรายกำลังนำไปใช้ในแง่ของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยที่อยากเตือนผู้ให้บริการทั้งหลายที่ยังไม่รู้ในเรื่องของ “คุณสมบัติทั้ง 500 อย่าง” ที่ต้องมองข้ามไป เพราะผู้ใช้งานทั้งหมดเป็นคนสร้างทำให้ระบบการเรียนรู้ในฐานะ “การสั่งการ” สำหรับฝึกให้ระบบองค์ความรู้ภายในองค์กรให้ดีขึ้น ทั้งในแง่การนำมาใช้ การให้บริการลูกค้าด้วยตัวเอง การค้นหาด้วยตัวแปร และที่สำคัญที่สุดคือการนำไปสู่การวิเคราะห์ข้อมูล

ปัจจุบันกำลังมีการค้นคว้าในเรื่องของกระบวนการจัดซื้อด้วย AI โดยจะมีการเปิดเผยผลการวิจัยในอีกไม่กี่เดือนจากนี้ นอกจากนั้นยังสามารถเข้าไปตรวจสอบสื่อในรูปแบบ Webcast ที่ได้ทำร่วมกับทาง KPMG ที่อธิบายถึงเรื่องที่เกี่ยวกับกระบวนการจัดซื้อที่มี AI เข้ามาเกี่ยวข้องถึง 23 เรื่อง ซึ่งใน Webcast เหล่านั้นทาง KPMG ได้ทำภาพกราฟฟิคไว้อย่างสวยงามสำหรับอธิบายในเทคโนโลยีของ AI ในเรื่องของความแตกต่างในเรื่องของขั้นตอนทางธุรกิจ อย่างเช่น กระบวนเรียนรู้ด้วยตัวเองนั้นสามารถเข้ามาช่วยแยกแยะตัวอักษรที่สัมพันธ์กัน (รวมทั้งในแบบที่ไม่ได้จัดโครงสร้างและกึ่งมีโครงสร้าง) ซึ่งช่วยวิเคราะห์ข้อมูลตามกลยุทธ์ที่กำหนดไว้ แต่ยังสามารถนำไปใช้กับเรื่องของการแยกแยะข้อมูลโดยอัตโนมัติให้กับเรื่องของ การจัดซื้อแบบอิเล็กทรอนิกส์ ในส่วนของการแนะนำการจัดซื้อ

หนึ่งในประเด็นสำคัญที่เราจะเน้นในการวิจัยที่กำลังจะมาถึงคือความสามารถของระบบ AI เกี่ยวกับการสร้างการวิเคราะห์ตามซอฟต์แวร์ซึ่งจะช่วยเพิ่มการวิเคราะห์ที่ใช้ในการคิดในชีวิตประจำวันของเรา (เช่นความรู้ความเข้าใจ) จากนั้นจะรวมไว้ในกลุ่มและในคลาวด์ นอกเหนือจากสิ่งที่เราสามารถทำได้เป็นรายบุคคลไม่ว่าจะเป็นชุดคำสั่งของซอฟต์แวร์ที่นำมาใช้ในเซลล์ประสาทของเราเองหรือภายในบิตและไบต์ซิลิคอน การวิเคราะห์เหล่านี้ต้องใช้โมเดลทางจิต / ความรู้ และจำเป็นต้องใช้กระบวนการคณิตศาสตร์ / อัลกอริทึม โมเดลบางรุ่นค่อนข้างง่าย (เช่นการจำแนกข้อความเป็นอนุกรมวิธาน) แต่บางส่วนอาจมีความซับซ้อนและมีคุณค่า

ตัวอย่างเช่น เครื่องมือสำหรับเพิ่มประสิทธิภาพมักจะต้องอาศัยการจับคู่อย่างมาก แต่เมื่อเปลี่ยนมาใช้เครื่องมือยุคใหม่จะเข้ามาช่วยเพิ่มการทำงานในเรื่องของการจัดการความซับซ้อนที่มีอยู่ในกระบวนการที่มีอยู่แล้วแต่ไม่เคยทำได้มาก่อน ช่วยให้องค์กรจัดซื้อจัดสร้างตะกร้าตลาดแบบ “unconstrained” ที่มีขนาดใหญ่ขึ้นเพื่อให้ซัพพลายเออร์สามารถเสนอราคาได้อย่างคล่องตัวเพื่อให้สามารถก้าวไปข้างหน้าได้ดีที่สุด และช่วยให้การจัดซื้อเพื่ออำนวยความสะดวกในการอภิปรายด้านการวิเคราะห์การค้าขายที่ยกระดับบทบาทของตนเองไปไกลกว่าผู้ลดราคา ผลก็คือการจัดหาแหล่งวัตถุดิบที่รวดเร็วขึ้น การจัดหาเชิงกลยุทธ์ซัพพลายเออร์ที่มีความสุขมากขึ้น ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีความสุขมากขึ้นมีมูลค่าเพิ่มขึ้นและมีบทบาทในการจัดซื้อจัดจ้างให้ใกล้เคียงกับยุทธศาสตร์ขององค์กรชั้นนำ

ผู้เชี่ยวชาญบางคนอาจโต้แย้งว่าเครื่องมือซอฟต์แวร์ไม่ใช่ “AI ของจริง” เว้นเสียแต่ว่าจะใช้การเรียนรู้ด้วยเครื่องและเครือข่ายประสาทเทียม แต่กลับไม่ฉลาดขนาดนั้นเพราะระบบเรียนรู้บางอันนั้นดูแย่มากๆ ถ้าคุณรู้จักหลักสถิติแบบเบส์ Bayesian statistics และการถดถอยหลายตัวแปรที่ได้เรียนกันมา สิ่งที่จำเป็นนั้นก็คือพื้นฐานสำหรับใช้ในการแยกแยะข้อมูลเบื้องต้น แต่ปัญหาหลักนั้นคือเรื่องของความซับซ้อนซึ่งเราก็เห็นแล้วว่าจะต้องนำเอา อัลกอริทึ่มต่างๆ เข้ามาใช้ในการแก้ปัญหาที่มีระดับแตกต่างกัน

ที่มา : http://spendmatters.com/2018/04/02/getting-real-with-artificial-intelligence-in-procurement/